|
|
 |
|
เทศบาลตำบลห้วยกรดเป็นหนึ่งในเก้าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เขตอำเภอสรรคบุรี ตั้งอยู่ทิศตะวันออก
เฉียงเหนือของอำเภอสรรคบุรี
ห่างจากอำเภอประมาณ ๗ กิโลเมตร อยู่ไกลจากจังหวัดชัยนาทไปทาง
ทิศตะวันตกเฉียงใต้
ประมาณ ๑๖ กิโลเมตร และอยู่ระหว่างทิศ
ตะวันออก
ของแม่น้ำน้อยกับทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา
มีพื้นที่
ทั้งหมดประมาณ ๒๑.๔๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๓,๔๑๒
ไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ๙,๖๖๐ ไร่
หรือประมาณร้อยละ ๗๒ ของ
พื้นที่ทั้งหมด โดยพื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์
ในการทำนา ทำสวน ไม้ประดับ |
|
|
|
|
 |
|
ตราเครื่องหมาย เป็นรูป โบสถ์ เจดีย์ วิหาร ต้นตาลโตนดอยู่ภายใน
วงกลม
ความหมายของภาพ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง ความขลัง และ
ศักดิ์สิทธิ์ แทนสถานที่สำคัญฯ ในอดีตตามตำนานที่เล่าขานกันมา
ซึ่ง
ปรากฏอยู่ และสอดคล้องกับคำขวัญตำบล คือ
"ภาษาสืบสาน ตาลโตนดลือเลื่อง พระเครื่องอาคมขลัง ตลาดกลางข้าวและพืชไร่ มรดกไทยรำมะนา ตลาดค้าขายสุกร" |
|
|
|
|
 |
|
เทศบาลตำบลห้วยกรด มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นพื้นที่
ราบลุ่มแม่น้ำ ดินอุดมสมบรูณ์ เหมาะแก่การเกษตร
มีระบบชลประทาน
ที่ดี ส่งน้ำได้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ และยังมีการใช้แหล่งน้ำใต้ดินจาก
บ่อตอก บ่อเจาะ จำนวน ๑๓๔ แห่ง
ทำให้เกษตรกรสามารถทำการ
เพาะปลูกได้ตลอดปี |
|
|
|
|
 |
|
|
|
เทศบาลตำบลห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลห้วยกรด
เป็นองค์การบริหารส่วน
ตำบลห้วยกรด เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ และต่อมากระทรวงมหาดไทย
ได้ออกประกาศลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๕๑ เปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกรด
โดยจัดตั้งเป็นเทศบาลตำบลห้วยกรด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒๕
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นไป |
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ทต.ชัยนาท
ทต.บางหลวง |
อ.เมือง
อ.สรรพยา |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ทต.ห้วยกรดพัฒนา |
อ.สรรคบุรี |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ทต.เจ้าพระยา |
อ.สรรพยา |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
อบต.เที่ยงแท้ |
อ.สรรคบุรี |
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 8,759 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 4,154 คน |
คิดเป็นร้อยละ 47.43 |

 |
หญิง จำนวน 4,605 คน |
คิดเป็นร้อยละ 52.57 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3,112 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 408.54 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลห้วยกรด ได้แบ่งการปกครองออกเป็น ๙ หมู่บ้าน |
|
 |
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
๑ |
|
บ้านท่าข้าม |
783 |
863 |
1,646 |
514 |
|
 |
๒ |
|
บ้านท่าวัว |
385 |
421 |
806 |
320 |
 |
|
๓ |
|
บ้านท่าช้าง |
254 |
263 |
517 |
185 |
|
 |
๔ |
|
บ้านคลองรี่ |
136 |
164 |
300 |
103 |
 |
|
๕ |
|
บ้านท่าสะเดา |
359 |
424 |
783 |
241 |
|
 |
๖ |
|
บ้านบางไก่เถื่อน |
541 |
552 |
1,093 |
376 |
 |
|
๗ |
|
บ้านคลองมะขวาด |
516 |
607 |
1,123 |
414 |
|
 |
๘ |
|
บ้านท่ากร่าง |
226 |
253 |
479 |
168 |
 |
|
๙ |
|
บ้านบางยายอ้น |
954 |
1,058 |
2,012 |
791 |
|
 |
|
|
รวม |
4,154 |
4,605 |
8,759 |
3,112 |
 |
|
|
|
|
๑. เกษตรกรรม |
คิดเป็นร้อยละ ๖๐ |
|
๒. รับจ้างทั่วไป |
คิดเป็นร้อยละ ๒๐ |
|
๓. อาชีพอิสระ |
คิดเป็นร้อยละ ๑๐ |
|
๔. การค้าขาย |
คิดเป็นร้อยละ ๑๐ |
|
รวมทั้งหมด |
๑๐๐ |
|
|
 |
|
|